Tuesday, May 13, 2014

เทคนิคเบื้องต้นในการปลูกกะหล่ำปลี

เทคนิคเบื้องต้นในการปลูกกะหล่ำปลี



กะหลํ่าปลี เปนพืชผักชนิดหนึ่ง ซึ่งแตเดิมเปนพืชที่ปลูกในเขตเมดิเตอรเรเนียนแถบยุโรป ตอ มาไดแพรกระจายเขามาในประเทศไทย โดยในสมัยกอนกะหลํ่ าปลีปลูกไดดีเฉพาะฤดูหนาวทางภาค เหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ตอมาเริ่มเปนที่นิยมบริโภคกันทั่วไป

จึงไดมีการพยายาม ปลูกกะหลํ่าปลีนอกฤดูกันมากขึ้น และไดหาพันธุทนรอนเหมาะสมกับสภาพ อากาศของประเทศไทย จึง ทําใหในปจจุบันสามารถปลูกกะหลํ่ าปลีไดทุกฤดู กะหลํ่ าปลีเปนผักอายุประมาณ 2ป แตนิยมปลูกเปน ผักอายุปเดียวคือ อายุตั้งแตยายปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวประมาณ 50-120 วัน ปลูกไดผลดีในชวง เดือน ตุลาคม - มกราคม ถาปลูกนอกเหนือจากนี้จะตองเลือกพันธุที่เหมาะสม



สภาพดินฟาอากาศที่เหมาะสม
กะหลํ่าปลีสามารถขึ้นไดในดินแทบทุกชนิด ชอบดินโปรง อุณหภูมิที่เหมาะสมสํ าหรับการเจริญ เติบโต ประมาณ 22-25 องศาเซลเซียส มีสภาพความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) อยูในชวง 6-6.5 ความชื้นในดินสูงพอสมควรและไดรับแสงแดดเต็มที่ตลอดวัน

พันธุ 
พันธุของกะหลํ่าปลีสามารถแยกไดเปน 3 กลุมใหญ ๆ คือ
1. กะหลํ่ าปลีธรรมดา มีความสํ าคัญและปลูกมากที่สุดในแงผักบริโภค มีลักษณะหัวหลาย แบบ ตั้งแตหัวกลม หัวแหลมเปนรูปหัวใจ จนถึงกลมแบนราบ มีสีเขียวจนถึงเขียวออน เปนพันธุที่ทน รอน อายุการเก็บเกี่ยวสั้นประมาณ 50-60 วัน พันธุที่นิยมปลูก ไดแก พันธุลูกผสมตางๆ นอกจากนี้ ยังมีพันธุผสมเปดอื่นๆ อีก เชน พันธุโคเปนเฮเกนมารเก็ต พันธุโกเดนเอเลอร เปนตน
2. กะหลํ่ าปลีแดง มีลักษณะหัวคอนขางกลม ใบสีแดงทับทิมสวนใหญมีอายุเก็บเกี่ยวประมาณ 90 วัน ตองการอากาศหนาวเย็นพอสมควรเมื่อนํ าไปตมนํ้ าจะมีสีแดงคลํ้ า พันธุที่นิยมปลูก ไดแก พันธุ รูบี้บอล รูบี้เพอเฟคชั่น
3. กะหลํ่ าปลีใบยน มีลักษณะผิวใบหยิกยนและเปนคลื่นมาก ตองการอากาศหนาวเย็นในการ ปลูก

การเตรียมดิน

  • แปลงเพาะกลา เตรียมดินโดยการขุดไถใหลึกประมาณ 15-20 เซนติเมตร กวาง 1 เมตร กวาง 1 เมตร ยาวตามความตองการ ตากดินไวประมาณ 5-7 วัน แลวคลุกดวยปุยคอกหรือปุยหมัก ยอยดินใหละเอียดพอสมควร รดนํ้ าใหชื้นแลวทํ าการหวานเมล็ดลงไป ควรพยายามหวานเมล็ดให กระจายบางๆ ถาตองการปลูกเปนแถว ก็ควรจะทํ ารองไวกอนแลวหวานเมล็ดตามรองที่เตรียมคลุมดวย ฟางหรือหญาแหงบางๆ เมื่อกลาออกใบจริงประมาณ 1-2 ใบ ก็ทํ าการถอนแยกตนที่แนน หรือออนแอ ทิ้ง 
  • แปลงปลูก กะหลํ่ าปลีที่นิยมปลูกในประเทศไทยเปนพันธุเบาระบบรากตื้น ควรเตรียม ดินลึกประมาณ 18-20 เซนติเมตร ตากดิน 5-7 วัน ใสปุยอินทรีย เชน ปุยคอก ปุยหมักใหมาก เพื่อ ปรับสภาพของดิน และเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินโดยเฉพาะในดินทรายและดินเหนียว จากนั้นยอยิวหนาดินใหมีขนาดกอนเล็กแตไมตองละเอียดจนเกินไป ถาดินเปนกรดควรใสปูนขาวเพื่อปรับสภาพ ดินใหมีความเหมาะสมตอการปลูก 


การปลูก
เมื่อกลามีอายุไดประมาณ 25-30 วัน จึงยายปลูกในแปลงปลูกที่ เตรียมไว โดยใหมีระยะปลูก 30-40 x 30-40 เซนติเมตร การปลูกอาจปลูกเปนแบบแถวเดียว หรือแถวคูก็ไดทั้งนี้ขึ้นอยูกับขนาดของสวน

การดูแลรักษา

  1. การใสปุย กะหลํ่ าปลีเปนพืชที่ตองการธาตุไนโตรเจนและโปตัสเซียมสูง เพื่อใชในการสราง ความเจริญเติบโตใหแกตนพืช ปุยที่แนะนํ าใหใชคือ ปุยสูตร 13-13-21 หรือ 14-14-21 โดยแบงใส 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ใสรองพื้นขณะปลูก แลวพรวนกลบลงในดิน ครั้งที่ 2 ใสหลังจากกะหลํ่ าปลีมีอายุได 7-14 วัน และควรใสปุยไนโตรเจน เชน ปุยแอมโมเนียมซัลเฟต หรือยูเรียควบคูไปดวย ซึ่งการใสปุยนี้ก็ แบงใส 2 ครั้งเชนกัน คือ ใสเมื่อกะหลํ่ าปลีมีอายุได 20 วัน และเมื่ออายุได 40 วัน โดยการโรยขางๆ ตน 
  2. การใหนํ้ าควรใหนํ้ าอยางสมํ่ าเสมอ โดยปลอยไปตามรองระหวางแปลงประมาณ 7-10 วัน/ ครั้ง ในเขตรอนและแหงแลงจํ าเปนตองใหนํ้ ามากขึ้น และเมื่อกะหลํ่ าปลีเขาปลีเต็มที่แลว ควรลด ปริมาณนํ้ าใหนอยลง เพราะหากกะหลํ่ าปลีไดรับนํ้ ามากเกินไปจะทํ าใหปลีแตก 
  3. การพรวนดินและกํ าจัดวัชพืช ในระยะแรกๆ ควรปฏิบัติบอยๆ เพราะวัชพืชจะเปนตัวแยง อาหารในดินรวมทั้งเปนที่อาศัยของโรคและแมลงอีกดวย 


การเก็บเกี่ยว
อายุการเก็บเกี่ยวของกะหลํ่ าปลี ตั้งแตปลูกจนถึงวันเก็บเกี่ยว ขึ้นอยูกับลักษณะของแตละพันธุ สํ าหรับพันธุเบาที่นิยมปลูกจะมีอายุประมาณ 50-60 วัน แตพันธุหนักมีอายุถึง 120 วันการเก็บควร เลือกหัวที่หอหัวแนนและมีขนาดพอเหมาะ กะหลํ่ าปลี 1 หัวมีนํ้ าหนักประมาณ 2-3 กิโลกรัม หาก ปลอยไวนานหัวจะหลวมลง ทํ าใหคุณภาพของหัวกะหลํ่ าปลีลดลง การเก็บควรใชมีดตัดใหใบนอกที่หุม หัวติดมาเพราะจะทํ าใหสามารถเก็บรักษาไดตลอดวัน เมื่อตัดและขนออกนอกแปลงแลวใหตัดแตงใบ นอกออกเหลือเพียง 2-3 ใบ เพื่อปองกันความเสียหายเนื่องจากการบรรจุและขนสง จากนั้นคัดแยก ขนาด แลวบรรจุถุง



No comments: