Tuesday, May 13, 2014

เทคนิคเบื้องต้นการเพาะเห็ดหอมจากขี้เลื่อย

เทคนิคเบื้องต้นการเพาะเห็ดหอมจากขี้เลื่อย



การเพาะเห็ดหอมในถุงพลาสติก ในสภาพธรรมชาติไดประสบความสํ าเร็จมา ตั้ง แต พ.ศ. 2521 ปจจุบันในการเพาะเห็ดหอม ดวยวิธีเพาะเลียนแบบธรรมชาติโดยไมตองใช ไมกอ (ไมที่ควรสงวนและรักษา) โดยใชหลัก การที่วา เห็ดหอมสามารถยอยเซลลูโลส และ ลิกนินได ขี้เลื่อยจึงเปนวัสดุเพาะที่ใกลเคียง ที่สุด และชวยแกไขปญหาการนํ าไมกอมาใช เพาะเห็ดหอมไดอีกทางหนึ่ง



วัสดุอุปกรณ

  1. วัสดุเพาะที่ไดผลดี คือ ขี้เลื่อยไมมะขาม รองมาคือ ขี้เลื่อย ไมยางพารา ขี้เลื่อยไมกระถินณรงค หรือขี้เลื่อยไมเบญจพรรณหมัก และวัสดุเสริม ซึ่งมีสวนผสมดังนี้ ขี้เลื่อย 100 กก. รํ าขาว 5 กก. นํ้ า ตาลทราย 2 กก. ดีเกลือ 0.2 กก. ยิบซั่ม 0.5 กก. ผสมนํ้ าใหมี ความชื้น 55-65% 
  2. ถุงพลาสติกทนรอน และอุปกรณการเพาะเห็ดในถุง พลาสติก 
  3. หมอนึ่งความดัน หรือถังนึ่งไมอัดความดันพรอมอุปกรณ การใหความรอนในการนึ่งฆาเชื้อ 
  4. โรงเรือน หรือสถานที่บมเสนใยและใหผลผลิต


วิธีการเพาะ 

  1. ผสมวัสดุเพาะและวัสดุเสริมทั้งหมดใหเขากันอยาใหแหงหรือแฉะ ใหวัสดุพอจับตัวกันไดเมื่อ บีบดูตองไมมีหยดนํ้า เมื่อคลายมือออกสวนผสมตองไมแตกรอนออกอยางรวดเร็ว 
  2. บรรจุสวนผสมลงในถุงพลาสติกทนรอน อัดแนนพอประมาณ ถุงละ 1/2 กก.- 1 กก. ใสคอ ขวดปดจุกสําลี และปดทับดวยกระดาษหรือฝาครอบกันไอนํ้า
  3. แลวนํ าไปนึ่งฆาเชื้อดวยหมอนึ่งความดันเปนเวลา 40 นาที ถึง 1 ชั่วโมง ดวยความดัน 15- 20 ปอนดตอตารางนิ้ว (หรือใชถังนึ่งไมอัดความดันก็ไดผลดีพอควร โดยเริ่มจับเวลาตั้งแตไอนํ้ าเดือด พุงตรงสมํ่ าเสมอเปนเวลา2-4 ชั่วโมง ตองรักษาระดับไอนํ้ าไวตลอดเวลาดวยการปรับความรอนใหมี อุณหภูมิภายในถังนึ่ง 85-100 องศาเซลเซียสตลอดเวลา) แลวทิ้งใหเย็น 
  4. แกะกระดาษหรือฝาครอบออก เปดจุกสําลีแลวใสเชื้อเห็ด (นิยมใชหัวเชื้อเห็ดจากเมล็ดขาว ฟาง) ควรทํ าในบริเวณที่สะอาด ปองกันการปนเปอนของเชื้อโรค แลวนําไปบมเสนใย การบมเสนใย ระยะเวลาที่บมเสนใย 3-4 เดือน ขึ้นกับนํ้าหนักอาหารที่ใช หรือมีการสรางตุมดอกประมาณ 2/3 ของกอนเชื้อ


ปจจัยที่สําคัญและการดูแลรักษา 

  1. อุณหภูมิ การบมเสนใยเห็ดหอมที่ดีที่สุดคือที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส การทํำหองหรือโรงเรือนที่ตั้ง อยูใตรมเงาไมสํ าหรับบมเสนใยอยางงาย เชน ทํ าจากหญาคา, จากฟาง, ไมไผ ฯลฯ ก็ได และมีการให นํ้ าภายนอกโรงเรือน หรือบริเวณพื้นโรงเรือนเปนครั้งคราวเมื่ออุณหภูมิสูงกวา 25 องศาเซลเซียส 
  2. ความชื้น ระยะบมเสนใย ตองการความชื้นในบรรยากาศในระดับ ปกติ คือ ประมาณ 50% ไมตองใหนํ้ าที่ถุงเห็ด ถามีความจํ าเปน ตองใหนํ้ าโรงเรือนตองระวังมิใหนํ้าถูกสํ าลีที่จุกปากถุง เพราะจะ เปนทางทํ าใหเกิดเชื้อโรคไปทํ าลายเชื้อเห็ดได ความชื้นสัมพัทธที่เหมาะสมตอการสรางดอกเห็ดและการ เจริญของดอกเห็ด อยูระหวาง 80-90% และ 60-70% ตาม ลํ าดับ การผานลมเย็นในขณะดอกเห็ดเจริญจะทํ าใหหมวกเห็ดแตก คลายกับดอกเห็ดหอมที่นํ าเขาจาก ตางประเทศ 
  3. อากาศ การถายเทอากาศที่ดีจํ าเปนตอการเจริญของดอกเห็ด และทํ าใหมีการสะสมเชื้อโรคนอยลงถามี การสะสมกาซคารบอนไดออกไซดมากจะทํ าใหเห็ดมีกานยาว บางครั้งหมวดเห็ดอาจจะไมเจริญหรือมี ลักษณะผิดปกติอื่นๆ 
  4. แสง ชวยกระตุนใหเสนใยเกิดตุมเห็ด สรางแผนสีนํ้าตาล และเจริญเปนดอกเห็ดไดเร็วกวาที่มือและ ยังชวยใหหมวดเห็ดมีสีเขมไมจางซีด 
  5. การแชนํ้ าเย็น หลังจากบมเสนใยสมบูรณแลว ใหแชกอนเชื้อในนํ้ าเย็น 2 ชั่วโมง หรือคางคืนก็ได เพื่อกระตุน ใหเกิดดอก


การใหผลผลิต โดยเปดปากถุงใหออกดอกทางดานบนหรือเปลือยกอนเชื้อโดยแกะถุงพลาสติกออกทั้งหมดให กอนเชื้อสัมผัสอากาศเปนการกระตุนใหเกิดดอกเห็ดถาตองการเห็ด ดอกใหญก็เปดใหมีการเกิดดอกเปนบางสวน การเปลือยกอนเชื้อจะ ไดดอกเห็ดจํ านวนมากแตดอกจะเล็ก และอาจจะมีการปนเปอนจาก เชื้อโรคหรือถูกกระทบจากสภาพแวดลอมไดงาย ผลผลิตดอกเห็ด สดจะได 50-400 กรัมตอกอนเชื้อ 1/2 - 1 กก. ขึ้นกับความใสใจ และเทคนิควิธีการของผูเพาะเห็ด

การเก็บผลผลิตและการทําแหงที่ถูกวิธี
ในการเก็บผลผลิตนั้น ควรเก็บดอกเห็ดขณะที่หมวกเห็ดยังไมบานเต็มที่ หรือขอบหมวกยังงุม อยู ซึ่งเปนลักษณะที่ตลาดตองการ และอยาไดสวนของดอกเห็ดเหลือ ติดอยูที่กอนเชื้อ จะทํ าใหเนาเสียและเกิดโรค ในขณะที่เก็บผลผลิตถา มีการใหนํ้ าที่ดอกเห็ดมากเกินไปจะทํ าใหดอกเห็ดเนาเสียงาย ถาไมมี การใหนํ้ าดอกเห็ดเมื่อเก็บดอกเห็ดแลวใสถุงพลาสติกไวจะสามารถ เก็บไวในตูเย็นไดนาน 3-4 สัปดาห การทํ าแหงเห็ดหอม ทํ าได 2 วิธี

  1. การตากแหง โดยตากแดด จนกวาดอกเห็ดจะแหงสนิท ควรหลีกเลี่ยงตากแดดจัดมากเกินไป เพราะจะทํ าให ดอกเห็ดไหมเกรียมและควรควํ่ าดอกเห็ดใหครีบอยูดานใตเพื่อปองกันครีบสีคลํ้ า การตากแดดเปนวิธีลด ความชื้นในดอกเห็ดในเวลาอันรวดเร็ว ทํ าใหดอกเห็ดยุบตัวมากเมื่อดอกเห็ดแหงสนิทดีแลว เก็บใน ภาชนะที่กันความชื้นมิฉะนั้นอาจจะมีเชื้อราเกิดขึ้นได 
  2. การอบแหง ใชลมรอนคอยๆ ลดความชื้นภายในดอกเห็ด ซึ่งจะไดเห็ดที่มีคุณภาพที่ดีกวาเห็ดที่ตากแดด การอบใชอุณหภูมิ เริ่มแรกประมาณ 30 องศาเซลเซียส จากนั้นเพิ่มอุณหภูมิขึ้นทีละ 1-2 องศา ทุก 1 ชั่วโมง จนถึง 50 องศาแลวเพิ่มใหเปน 60 องศาและรักษาอุณหภูมิระดับนี้ไวประมาณ 1 ชั่วโมง เพื่อ เพิ่มรสชาติ กลิ่น และทํ าใหดอกเห็ดหอมมีลักษณะเปนเงาสวยงาม


No comments: