Thursday, May 15, 2014

เทคนิคเบื้องต้นการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ ตอน 3

การใชพลาสติกหรือฟางขาวคลุมแปลงปลูก เปนการควบคุมปริมาณวัชพืชและเก็บรักษาความชื้นในดินไวไดนาน ทํ าใหประหยัดนํ้ าที่ใชรด แปลงผัก การใชพลาสติกหรือฟางขาวคลุมแปลงปลูกนี้ ควรใชกับพืชผักที่มีระยะปลูกแนนอน ในแปลง ที่พบการระบาดของโรคที่มีเชื้อไวรัสเปนสาเหตุ และมีเพลี้ยออนหรือแมลงเปนพาหะ แนะนํ าใหใช พลาสติกที่มีสีเทา-ดํ า โดยใหดานที่มีสีเทาอยูดานบน เนื่องจากสีเทาจะทํ าใหเกิดจากสะทอนแสง จึงชวยไลแมลงพาหนะได



การปลูกผักในโรงเรือนมุงตาขายไนลอน พื้นที่ที่จะใชปลูกผักในโรงเรือน ควรเปนพื้นที่ที่สามารถปลูกผักไดอยางตอเนื่อง ไมนอยกวา 3 ป เพื่อจะไดคุมคาตอการสรางโรงเรือนและการใชตาขายไนลอน โครงสรางของโรงเรือนอาจทํ าดวย เหล็กหรือไมก็ได ขึ้นอยูกับเกษตรกรวาตองการจะใชพื้นที่นี้ปลูกผักนานเทาใด สวนตาขายที่ใชนั้นจะใช มุงตาขายไนลอนที่มีขนาด 16 ชองตอความยาว 1 นิ้ว โดยมุงสีขาวมีความเหมาะสมกับการปลูกผัก เนื่องจากแสงผานไดเกือบปกติ สวนมุงสีฟาไมคอยเหมาะสม เนื่องจากแสงผานไดเพียงรอยละ 70 เทา นั้น



การปลูกผักในโรงเรือนมุงตาขายนี้ จะไมสามารถปองกันแมลงศัตรูพืชผักไดทุกชนิด มีเพียง หนอนผีเสื้อและดวงหมัดผัก เทานั้นที่สามารถปองกันได สวนเพลี้ยออน เพลี้ยไฟ หนอนแมลงวันชอบ ใบแมลงหวี่ขาวและไร ซึ่งเปนแมลงขนาดเล็กจะไมสามารถปองกันไดรอยเปอรเซ็นต ซึ่งถาหากใชมุงไน ลอนที่มีความถี่เพิ่มขึ้นเปน 24 และ 32 ชองตอนิ้วแลวจะปองกันได แตอาจมีปญหาเรื่องอุณหภูมิและ ความชื้นภายในมุง

ขอควรระวังสําหรับการปลูกผักในโรงเรือนมุงตาขาย

  1. อยาใหมีหนอนผีเสื้อหรือหนอนตางๆ หลุดเขาไปในโรงเรือนได เพราะหนอนตางๆ เหลานี้ จะสามารถขยายพันธุไดอยางรวดเร็ว 
  2. ในการยายกลา จะตองตรวจดูกลาผัก อยาใหมีไขตัวหนอนหรือดักแดติดเขาไปในโรงเรือน 
  3. ควรดูแลอยาใหมุงตาขายชํ ารุดฉีดขาด เพราะอาจทํ าใหดวงหมัดผักเล็ดลอดเขาไปได อาจจะ มีการรองดวยผาหรือแผนยางบริเวณที่มีการเสียดสีระหวางตาขายกับโครงสรางเพื่อปองกันการฉีดขาด 
  4. มุงตาขายจะตองปดมิดชิดตลอดเวลา และควรทํ าประตูเปนแบบสองชั้น 
  5. การปลูกผักในโรงเรือนมุงตาขายไมสามารถปองกันแมลงขนาดเล็กได ดังนั้น จึงอาจจะตอง ใชวิธีการกํ าจัดศัตรูพืชอื่นๆ รวมดวย 
  6. ผักที่ปลูกไดในมุงตาขายไนลอน ประเภทกินใบ ไดแก คะนา ผักกาดขาว กวางตุง ฮองเต ตั้งโอ ปวยเลง ขึ้นฉาย เปนตน ประเภทกินดอก ไดแก กะหลํ่ าดอก บล็อกโคลี่ เปนตน ประเภทกินฝกและผล ไดแก ถั่วฝกยาว มะเขือเปราะ ถั่วลันเตา เปนตน


การควมคุมโดยชีววิธี เปนการใชสิ่งมีชีวิตควบคุมศัตรูพืช ซึ่งไดแก แมลง ตัวหํ้า ตัวเบียน ที่ทํ าลายแมลงศัตรูพืชชนิด อื่น หรืออาจใชสิ่งมีชีวิตเล็กๆ เชน เชื้อบักเตรี เชื้อไวรัส เชื้อรา ไสเดือนฝอย เปนตน ในการควบคุมซึ่งมี รายละเอียด ดังนี้ เชื้อบักเตรี ที่นิยมใชในการควบคุมแมลง คือ เชื้อบีที (BT) โดยแมลงที่ไดรับเชื้อบักเตรีชนิดนี้ เขาไปแลว นํ้ายอยในลํ าไสของแมลงจะละลายผลึกของเชื้อบักเตรี ทําใหเกิดสารพิษทําลายระบบยอย อาหารและอวัยวะของแมลง ทําใหขากรรไกรแข็ง กินอาหารไมได เคลื่อนไหวชาลง และตายไปในที่สุด เชื้อบักเตรีที่มีขายเปนการคาจะมี 2 กลุม คือ

  1. Kurstaki ไดแก แบคโทรฟนเอชพี ดับเบิ้ลยูพี, เซ็นทารี่ยูดีจี มีประสิทธิภาพในการกํ าจัด หนอนในผัก หนอนกระทูหอม และหนอนคืบกะหลํ่ า 
  2. Aizawai ไดแก ฟลอรแบค เอชพี, ฟลอรแบค เอฟซี, ธูรีไซด เอชพี มีประสิทธิภาพในการ กําจัดหนอนใยผัก และหนอนคืบกะหลํ่ า เทานั้น


ดังนั้น การที่จะใชเชื้อบักเตรีใหไดผล ควรเลือกชนิดของเชื่อใหตรงกับแมลงศัตรูและควรฉีด พนเมื่อหนอนยังเปนตัวออนอยู หลีกเลี่ยงแสงในขณะฉีดพน และไมควรใหนํ้าหลังจากฉีดพนเชื้อบักเตรีแลว

เชื้อไวรัส เชื้อไวรัสที่ใชในการควบคุม คือ เอ็นพีวี (NPV) โดยใชในการกํ าจัดหนอนหลอดหอมหรือหนอน หนังเหนียว ซึ่งเชื้อไวรัสชนิดนี้จะเขาไปทํ าลายระบบตางๆ ของรางกาย ทํ าใหหนอนลดการกินอาหาร เคลื่อนไหวชา ลําตัวมีสีซีดลง มีจุดสีขุนหรือสม แลวจะใชขาเทียมเกาะที่ตนพืชหอยหัวลงมาตายในที่สุด
เชื้อรา ที่ใชในการควบคุม คือ ไตรโครเดอรมาจะควบคุมเชื้อสาเหตุของโรครากเนา โคนเนา เนาคอดิน ของมะเขือเทศและผักกาดหัว โดยจะใชเชื้อราผสมกับรํ าขาวและปุยหมัก ในอัตรา 1:10:40 แลวใชรอง กนหลุมหรือโรยรอบโคนตน
ไสเดือนฝอย จะชวยควบคุมดวงหมัดผัก โดยชอนไชเขาสูระบบเลือดหรือกระเพาะอาหาร เมื่อเขาไปแลวจะถูก ยอยทําลาย จากนั้นจะปลดปลอยเชื้อบักเตรีที่เปนอันตรายตอแมลงออกมา ทําใหแมลงตายในที่สุด ใน การใชไสเดือนฝอยนั้น เกษตรกรควรเก็บรักษาไวในที่เย็น และใชไสเดือนฝอยในการควบคุมหลังจาก การใหนํ้ าแกตนพืชชวงเวลาเย็นๆ เนื่องจากไสเดือนฝอยจะไมทนทานตอสภาพที่แหงแลง หรือถูกแสง แดด

การใชสารสกัดจากพืช พืชที่นิยมนํ ามาใชสกัดเปนสารควบคุมโรคและแมลง คือ สะเดา เนื่องจากในสะเดามีสาร อะซาดิแรคติน (Azadirachtin) ซึ่งมีคุณสมบัติชวยในการปองกันและกํ าจัดแมลงไดโดย

  • สามารถใชฆาแมลงไดบางชนิด
  • ใชเปนสารไลแมลง
  • ทํ าใหแมลงไมกินอาหาร
  • ทํ าใหการเจริญเติบโตของแมลงผิดปกติ
  • ยับยั้งการเจริญเติบโตของแมลง
  • ยับยั้งการวางไขและการลอกคราบของแมลง
  • เปนพิษตอไขของแมลง ทํ าใหไขไมฟก
  • ยับยั้งการสรางเอนไซมในระบบยอยอาหารของแมลง


วิธีการใช คือ นํ าเอาผลสะเดาหรือสะเดาที่บดแลว 1 กิโลกรัม แชในนํ้ า 20 ลิตร ทิ้งคางคืนไว 1 คืน แตถาเกษตรกรมีเครื่องกวนสวนผสมดังกลาว ก็จะลดเวลาเหลือเพียง 3-4 ชั่วโมง จากนั้นกรอง เอาแตนํ้ ามาผสมดวยสารจับใบประมาณ 1 ชอนโตะ แลวนํ าไปรดพืชผักทันที สวนกากของสะเดาที่เหลือ ใหนํ าไปโรยโคนตนเพื่อปรับปรุงสภาพดิน และกํ าจัดแมลงในดินไดอีกดวยการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ 10 ขอควรระวัง พืชบางชนิดเมื่อไดรับสารนี้แลวอาจเกิดอาการใบไหมเหี่ยวยนหรือตนแคระ แกร็น ดังนี้เมื่อพบอาการตางๆ เหลานี้ ก็ควรจะงดใชสารสกัดจากสะเดาทันที

ชนิดของแมลงที่สามารถกํ าจัดไดดวยสะเดา

  1. ชนิดที่ใชแลวไดผลดี ไดแก หนอนใยผัก หนอนหนังเหนียว หนอนกระทูชนิดตางๆ หนอน กัดกินใบ หนอนเจาะยอด หนอนชอนใบ หนอนมวนใบ หนอนหัวกระโหลก
  2. ชนิดที่ใชแลวไดผลปานกลาง ไดแก เพลี้ยจักจั่น หนอนเจาะ สมอฝาย หนอนตนกลาถั่ว แมลงหวี่ขาว แมลงวันทอง เพลี้ยไกแจ เพลี้ยออน
  3. ชนิดที่ใชแลวไดผลนอย ไดแก หนอนเจาะฝกถั่ว เพลี้ยไฟ ไรแดง มวนและดวงชนิดตางๆ พืช

ผักที่ใชสารสกัดจากสะเดาไดผล ไดแก ผักคะนา กวาง ผักกาดหอม กะหลํ่ าปลี กะหลํ่ าดอก แตงกวา แตงโม แตงเทศ มะเขือเทศ มะเขือยาว หนอไมฝรั่ง ขาวโพดออน พริกขี้หนู ตํ าลึง มะนาว มะกรูด

การใชสารแคมีปองกันและกําจัดศัตรูพืช จากขอมูลที่ไดกลาวมาแลวขางตน ในการปฏิบัติจริงของเกษตรกรนั้น เกษตรกรตองหมั่นตรวจ แปลงปลูกพืชของตนอยางสมํ่ าเสมอ เพื่อเปนการพยากรณสถานการณของศัตรูพืชในแปลงของตน เมื่อ ทราบสถานการณแลวจึงพิจารณาเลือกใชวิธีการปองกันและกํ าจัดที่เหมาะสม แตในกรณีที่ไมสามารถ ควบคุมหรือไมมีวิธีการควบคุมใดที่ใชไดผลแลว เกษตรกรอาจใชสารเคมีในการควบคุมศัตรูพืชนั้นๆ ได โดยพิจารณาจาก

  1. เปนสารเคมีที่เหมาะสมกับศัตรูพืชชนิดนั้น
  2. สารเคมีนั้นสลายตัวไดเร็ว
  3. ใชในอัตราที่เหมาะสมตามคํ าแนะนํา
  4. เวนระยะการเก็บเกี่ยวผลผลิตตามคํ าแนะนํ า ทั้งนี้เพื่อไมกอใหเกิดอันตราย หรือมีสารพิษตกคางในพืชผักนั้น และมีความปลอดภัยตอ ผูบริโภคอีกดวย

No comments: