Thursday, May 15, 2014

เทคนิคเบื้องต้นการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ ตอน 2

การเตรียมแปลงปลูก เนื่องจากเมล็ดพืชผักสวนใหญมีขนาดเล็ก มีระบบรากละเอียดออน ถาเกษตรกรเตรียมดินไมดี กอาจมีผลกระทบตอการงอกของเมล็ดและการเจริญเติบโตของพืชผักได ดังนั้น กอนการปลูกพืชควรมี การปรับสภาพดินใหเหมาะสมเสียกอน โดยเฉพาะในพื้นที่ที่เคยมีการปลูกผักหรือพืชชนิดอื่นโดยการ ปลอยนํ้ าใหทวมแปลงแลวสูบออก เพื่อใหนํ้ าชะลางสารเคมีและกํ าจัดแมลงตางๆ ที่อาศัยอยูในดิน แลว จึงทํ าการไถพลิกหนาดินตากแดดไว เพื่อทํ าลายเชื้อโรคและแมลงศัตรูที่อาศัยอยูในดินอีกครั้ง จากนั้น เกษตรกรควรจะปรับสภาพความเปนกรดเปนดางของดินใหอยูในสภาพที่เปนกลาง โดยใชปูนขาว ปูนมารล หรือ แรโดโลไมท อัตรา 200-300 กิโลกรัม/ไร แลวรดนํ้ าตามหลังจากการใสปูนขาวเพื่อ ปรับสภาพดินที่เปนกรดใหเปนกลางนอกจากนี้ควรเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินดวยการใสปุยอินทรีย เชน ปุยคอก ปุยหมัก ในอัตรา 1,000-2,000 กิโลกรัม/ไร ซึ่งจะชวยใหตนพืชผักมีความแข็งแรง สามารถตานทานตอการเขาทํ าลายของโรคและแมลงได



การเตรียมเมล็ดพันธุ กอนนํ าเมล็ดพันธุผักไปปลูกในแปลงปลูกหรือแปลงกลาเกษตรกรควรทํ าความสะอาดเมล็ด พันธุกอน ตามขั้นตอนดังนี้

  1. คัดแยกเมล็ดพันธุ โดยการคัดเมล็ดที่เสีย เมล็ดวัชพืชที่มีอยูปะปน และสิ่งเจือปนตางๆ ออก 
  2. แชเมล็ดพันธุในนํ้ าอุน ที่อุณหภูมิ 50-55 องศาเซลเซียสเปนเวลา 15-30 นาที จะชวย ลดปริมาณเชื้อโรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุและยังกระตุนการงอกของเมล็ดอีกดวย 
  3. ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรครานํ้ าคาง และโรคใบจุดควรคลุกเมล็ดพันธุดวยสารเคมี เชน เมทาแล็กซิน 35 เปอรเซ็นต SD (เอพรอน) และไอโปรไดโอน (รอฟรัล) อัตรา 10 กรัม / เมล็ด พันธุ 1 กิโลกรัม


การปลูกและการดูแล การเลือกวิธีการปลูก ระยะปลูกเปนเทาใดนั้นจะขึ้นอยูกับชนิดของพืชผักที่เกษตรกรเลือกปลูก แตมีขอแนะนํ า คือ เกษตรกรควรปลูกผักใหมีระยะหางพอสมควร อยาใหแนนจนเกินไป เพื่อใหมีการ ระบายอากาศที่ดี เปนการปรับสภาพแวดลอมไมใหเหมาะสมตอการระบาดของโรค นอกจากนี้ควรหมั่น ตรวจแปลงอยูเสมอ โดยอาจเลือกสํ ารวจเปนจุดๆ ประมาณ 10-20 จุด/ไร ถาพบวามีการระบาดของ โรคและแมลงในระดับที่กอใหเกิดความเสียหายแกพืชผักนั้น ก็ควรดํ าเนินการกํ าจัดโรคและแมลงที่พบ ทันที

การใหธาตุอาหารเสริมแกพืช จะมีความจํ าเปนตอพืชผักในบางชนิดเทานั้น ทั้งนี้เพื่อสรางความตานทานโรคใหแกพืชนั้น เชน พืชในตระกูลกะหลํ่ าจะตองการธาตุโบรอนเพื่อสรางความตานทานโรคไสกลวงดํ า มะเขือเทศจะตองการ ธาตุแคลเซียมเพื่อสรางความตานทานโรคผลเนา เปนตน

การใชกับดักกาวเหนียว กับดักกาวเหนียวนี้มีคุณสมบัติไมมีสี ไมมีกลิ่น และไมมีพิษตอสิ่งแวดลอม จะใชในการควบคุม ปริมาณตัวเต็มวัยของแมลงศัตรูพืชไดหลายชนิด เชน เพลี้ยไฟ แมลงวันเจาะผล แมลงวันของหนอนชอน ใบ ผีเสื้อกลางวันชนิดตางๆ ทั้งของหนอนคืบและหนอนใย เปนตน โดยทั่วไปมักจะนิยมใชกาวเหนียวมา ทาบนวัสดุที่มีสีเหลือง เชน แผนพลาสติก หรือกระปองนํ้ ามันเครื่อง เนื่องจากแมลงมักชอบสีเหลืองโดย กับดักนี้จะใชลอแมลงใหบินมาติดกาวเหนียวที่ทาไวสํ าหรับการติดตั้งนั้น ควรติดตั้งกับดักในแปลงผักให สูงประมาณ 30 เซนติเมตร หรือสูงกวายอดตนผักเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แลว โดยจะใชกับดักประมาณ 60-80 กับดัก/พื้นที่ 1 ไร ในชวงที่มีการระบาดมาก (ฤดูรอน, ฤดูฝน) สวนในฤดูหนาวมีการระบาด นอย อาจใชเพียง 15-20 กับดัก/ไร วิธีการทํ ากาวเหนียว วัสดุที่ใชประกอบดวย

  • นํ้ามันละหุง 550 ซีซี 
  • นํ้ ามันยางสน 380 กรัม 
  • ไขคารนัววา (Canova wax) 60 กรัม

ขั้นแรกเคี่ยวนํ้ ามันระหุงจนเดือดแลวจึงเติมนํ้ ามันยางสนและไขคารนัววาลงไป คนชาๆ ใหเขา กันดีแลวจึงยกออกจากเตา ตั้งทิ้งไวใหเย็นกอนนํ าไปใชเปนกับดักกาวเหนียวตอไป

การใชกับดักแสงไฟ เปนการใชแสงไฟจากหลอดฟลูออรเรสเซนต (หลอดนีออน) หรือหลอดไฟแบล็คไลท ลอแมลง ในเวลากลางคืน เชน ผีเสื้อ หนอน กระทูหอม หนอนกระทูผัก ใหมาเลนไฟและตกลงในภาชนะที่บรรจุ นํ้ ามันเครื่องหรือนํ้ าที่รองรับอยูดานลาง การติดตั้งกับดักและแสงไฟจะติดตั้งประมาณ 2 จุด/พื้นที่ 1 ไร โดยติดตั้งใหสูงจากพื้นดินประมาณ 150 เซนติเมตร และใหภาชนะที่รองรับอยูหางจากหลอดไฟ 30 เซนติเมตรและควรปดสวนอื่นๆ ที่จะทํ าใหแสงสวางกระจายเปนบริเวณกวางเพื่อลอจับแมลงเฉพาะ ในบริเวณแปลง มิใชลอแมลงจากที่อื่นใหเขามาในแปลง


No comments: