Thursday, May 15, 2014

เทคนิคเบื้องต้นการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ ตอน 1

เทคนิคเบื้องต้นการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ

พืชผักเปนพืชอาหารที่คนไทยนิยมนํามาใชรับประทานกันมากเนื่องจากมีคุณคาทางอาการทั้ง วิตามินและแรธาตุตางๆ ที่เปนประโยชนตอรางกายสูง แตคานิยมในการบริโภคผักนั้น มักจะเลือก บริโภคผักที่สวยงามไมมีรองรอยการทําลายของหนอนและแมลงศัตรูพืช จึงทําใหเกษตรกรที่ปลูกผัก จะตองใชสารเคมีปองกันและกําจัดแมลงฉีดพนในปริมาณที่มาก เพื่อใหไดผักที่สวยงามตามความ ตองการของตลาด เมื่อผูซื้อนํามาบริโภคแลวอาจไดรับอันตรายจากสารพิษที่ตกคางอยูในพืชผักนั้นได เพื่อเปนการแกปญหาดังกลาว เกษตรกรจึงควรหันมา ทําการปลูกผักปลอกภัยจากสารพิษ โดยนํ าเอา วิธีการปองกันและกํ าจัดศัตรูพืชหลายวิธีมาประยุกตใชรวมกัน เปนการทดแทนหรือลดปริมาณการใช สารเคมีใหนอยลง เพื่อความปลอดภัยของเกษตรกร ผูบริโภคและสิ่งแวดลอม

ความหมายของผักปลอดภัยจากสารพิษ ผักปลอดภัยจากสารพิษ หมายถึง ผลผลิตพืชผักที่ไมมีสารเคมีปองกันและกํ าจัดศัตรูพืชตกคาง อยู หรือมีตกคางอยูไมเกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกํ าหนดไว ในประกาศกระทรวง สาธารณสุข ฉบับที่ 163 พ.ศ. 2538 ลงวันที่ 28 เมษายน 2538 เรื่อง อาหารที่มีสารพิษตกคาง



ขอดีของการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ 

  1. ทํ าใหไดพืชผักที่มีคุณภาพ ไมมีสารพิษตกคาง เกิดความปลอดภัยแกผูบริโภค 
  2. ชวยใหเกษตรกรผูปลูกผักมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากไมมีการฉีดพนสารเคมีปองกัน และกํ าจัดศัตรูพืช ทํ าใหเกษตรกรปลอดภัยจากสารพิษเหลานี้ดวย 
  3. ลดตนทุนการผลิตของเกษตรกรดานคาใชจายในการซื้อสารเคมีปองกันและกํ าจัดศัตรูพืช 
  4. ลดปริมาณการนํ าเขาสารเคมีปองกันและกํ าจัดศัตรูพืช 
  5. เกษตรกรจะมีรายไดเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากผลผลิตที่ไดมีคุณภาพ ทำใหสามารถขายผลผลิต ไดในราคาสูงขึ้น 
  6. ลดปริมาณสารเคมีปองกันและกํ าจัดศัตรูพืชที่จะปนเปอนเขาไปในอากาศและนํ้า ซึ่งเปน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและลดมลพิษของสิ่งแวดลอมไดทางหนึ่ง


วิธีการผลิตผักปลอกภัยจากสารพิษ ในการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษนั้น จะใชหลักการปลูกพืชผักโดยการใชสารเคมีในการผลิต ใหนอยที่สุด หรือใชตามความจํ าเปนและจะใชหลัก “การปองกันและกํ าจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน หรือไอพีเอ็ม” แทนแตการที่จะปองกันและกํ าจัดศัตรูพืชใหไดผลนั้นจะตองเลือกวิธีที่ประหยัดเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ ซึ่งผูปลูกจะตองเขาใจเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของ ดังนี

1. สาเหตุการระบาดของศัตรูพืช

  • ศัตรูพืชเคลื่อนยายจากแหลงหนึ่งไปยังอีกแหลงหนึ่ง ที่มีความเหมาะสมมากกวา ทํ าใหมี การขยายพันธุและระบาดทํ าความเสียหายเพิ่มขึ้น 
  • สภาพแวดลอมและสภาพทางนิเวศนเปลี่ยนแปลงไปทํ าใหศัตรูพืชมีการขยายพันธุไดดีขึ้น เพิ่มจํ านวนมากขึ้น หรือมีผลตการพัฒนาสายพันธุใหมีความตานทาน และมีประสิทธิภาพในการเขา ทําลายมากขึ้น เชน การกํ าจัดงู ทํ าใหหนูระบาด การใชสารเคมี ทํ าใหแมลงที่กินแมลงศัตรูพืชตาย เปนตน 
  • สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจและสังคมของมนุษยที่เปลี่ยนแปลงไป ทํ าใหความตองการ ผลิตในการบริโภคเปลี่ยนไป ทํ าใหความตองการผลผลิตในการบริโภคเปลี่ยนไป ทํ าใหความตองการผล ผลิตที่แตกตางกันไปตามความตองการของบริโภค ทํ าใหบางครั้งรองรอยการทํ าลายของศัตรูพืชเพียงจุด เดียว ก็ถือวาผลผลิตตกเกรดไมไดมาตรฐาน มีการระบาดของศัตรูพืชได 

2. การควบคุมศัตรูพืชใหประสบผลสํ าเร็จ มีหลักการงายๆ

  • ตองปองกันไมใหเกิดโรคในแปลงปลูก เชน การใชพันธุที่ปราศจากโรคและแมลง การไม นํ าชิ้นสวนของพืชที่มีโรคแมลงเขามาในแปลงปลูก เปนตน 
  • ถามีศัตรูพืชเขามาในแปลงปลูกหรือแสดงอาการเปนโรคแลว ตองยับยั้งการแพรระบาด 
  • และถามีการระบาดแลวตองกํ าจัดใหหมดไป อยางไรก็ตามสาเหตุสํ าคัญที่กอใหเกิดการระบาดของศัตรูพืชในแปลงปลูก คือ ตัวเกษตรกรเอง ที่ละเลยการควบคุมดูแลทํ าใหศัตรูพืชสะสมในแปลงปลูก จนถึงระดับที่ไมสามารถควบคุมกํ าจัดได 

3. วิธีการควบคุมศัตรูพืชอยางมีประสิทธิภาพ มีขั้นตอนดังนี้

  • ตองศึกษาชนิดของศัตรูพืชในแปลงปลูกนั้นๆ กอน 
  • สํ ารวจสถานการณศัตรูพืชในแปลงปลูก 
  • พิจารณาแนวโนมการระบาดของศัตรูพืชแลวจึงหาแนวทางปองกันและกํ าจัดตอไป 
  • เมื่อควบคุมการระบาดใหอยูในระดับที่ไมกอใหเกิดความเสียหายมากขึ้น แลวใหเลือกใชวิธี การที่เหมาะสมเพื่อลดปริมาณ หรือรักษาระดับการเขาทํ าลายใหคงที่หรือลดลง 
  • ในกรณีที่ไมสามารถควบคุมสถานการณศัตรูพืชดวยวิธการอื่นๆ ได มีความจํ าเปนที่จะตอง ใชสารเคมีใหเลือกใชสารเคมีที่ถูกตองเหมาะสมกับชนิดศัตรูพืชและการระบาดตามคํ าแนะนํ าวิธีการใช ในฉลาก 

4. ผลดีของการปองกันและกํ าจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน

  • ลดปริมาณศัตรูพืชใหตํ่ ากวาระดับที่จะกอใหเกิดความเสียหายแกพืช 
  • ลดปริมาณการใชสารเคมีปองกันและกํ าจัดศัตรูพืช 
  • มีความปลอดภัยตอสุขภาพของเกษตรกรผูบริโภครวมไปถึงสภาพแวดลอม 

5. วิธีการผสมผสานในการควบคุมศัตรูพืช จะเปนการนําเอาวิธีการปองกันและกําจัดศัตรู พืชหลายวิธีมาประยุกตใชรวมกัน โดยวิธีการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษนี้มีขอแนะนํ าใหเกษตรกร เลือกใชวิธีการปอกกันและกํ าจัดศัตรูพืช ทดแทนการใชสารเคมี ดังนี้

  • การเตรียมแปลงปลูก 
  • การเตรียมเมล็ดพันธุ
  • การปลูกและการดูแล 
  • การใหธาตุอาหารเสริม 
  • การใชกับกัดกาวเหนียว 
  • การใชกับดักแสงไฟ 
  • การใชพลาสติกหรือฟางขาวคลุมแปลงปลูก 
  • การปลูกผักในโรงเรือนมุงตาขายไนลอน 
  • การควบคุมโดยชีววิธี 
  • การใชสารสกัดจากพืช 
  • การใชสารเคมีปองกันและกํ าจัดศัตรูพืช (กรณีที่ใชวิธีการปองกันและกํ าจัดศัตรูพืชขาง ตนไมไดผล)


No comments: