Friday, May 16, 2014

เทคนิคเบื้องต้นในการปลูก ปูเล่

เทคนิคเบื้องต้นในการปลูก ปูเล่

ปูเล เปนพืชที่เมื่อฟงชื่อจะรูสึกแปลก หลายคนสงสัยวา ปูเล แปลวาอะไร จากการคน หาจากที่ตางๆ ไมพบวาปูเลแปลวาอะไร จากประวัติความเปนมาบางคนเรียก ปูเล วา คะนาสามรอยป แตจากขอมูลของกรมสงเสริมการเกษตรพบวา ปูเลเปนพืชที่เกา แกมีมานานแลว โดยพบทางภาคใตของประเทศไทย ตั้งแตครั้งสมัยตนรัตนโกสินทร จึงคาดวามีผูนํ าปูเลมาจากประเทศจีน ในชวงการอพยพยายถิ่นฐาน ชาวจีนนํ าปูเล ปลูกในกระถางไวบนเรือ และเก็บบริโภคระหวางเดินทางดวยระยะเวลานาน ปูเลที่ปลูกมีหลายสายพันธุ บางพันธุมีลักษณะคลายกะหลํ่ า บางชนิดมีสีมวงปนเขียว บางชนิดคลายคะนาแตใบใหญกวามาก

ลักษณะเดนของปูเล
ปูเล เปนพืชที่มีลักษณะเดนที่นาจะไดรับการสงเสริมใหทุกบาน ไดปลูกไว โดยปูเลจะเจริญเติบโตไดดีในกระถาง ดังนั้น ในครัวเรือนที่มี บานและมีพื้นที่จํ ากัดก็สามารถปลูกปูเลได โดยปลูกไวที่ระเบียง ปลูกใน สนามบาน ลักษณะเดนที่สํ าคัญของปูเล ประกอบดวย

Thursday, May 15, 2014

เทคนิคเบื้องต้นการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ ตอน 3

การใชพลาสติกหรือฟางขาวคลุมแปลงปลูก เปนการควบคุมปริมาณวัชพืชและเก็บรักษาความชื้นในดินไวไดนาน ทํ าใหประหยัดนํ้ าที่ใชรด แปลงผัก การใชพลาสติกหรือฟางขาวคลุมแปลงปลูกนี้ ควรใชกับพืชผักที่มีระยะปลูกแนนอน ในแปลง ที่พบการระบาดของโรคที่มีเชื้อไวรัสเปนสาเหตุ และมีเพลี้ยออนหรือแมลงเปนพาหะ แนะนํ าใหใช พลาสติกที่มีสีเทา-ดํ า โดยใหดานที่มีสีเทาอยูดานบน เนื่องจากสีเทาจะทํ าใหเกิดจากสะทอนแสง จึงชวยไลแมลงพาหนะได



การปลูกผักในโรงเรือนมุงตาขายไนลอน พื้นที่ที่จะใชปลูกผักในโรงเรือน ควรเปนพื้นที่ที่สามารถปลูกผักไดอยางตอเนื่อง ไมนอยกวา 3 ป เพื่อจะไดคุมคาตอการสรางโรงเรือนและการใชตาขายไนลอน โครงสรางของโรงเรือนอาจทํ าดวย เหล็กหรือไมก็ได ขึ้นอยูกับเกษตรกรวาตองการจะใชพื้นที่นี้ปลูกผักนานเทาใด สวนตาขายที่ใชนั้นจะใช มุงตาขายไนลอนที่มีขนาด 16 ชองตอความยาว 1 นิ้ว โดยมุงสีขาวมีความเหมาะสมกับการปลูกผัก เนื่องจากแสงผานไดเกือบปกติ สวนมุงสีฟาไมคอยเหมาะสม เนื่องจากแสงผานไดเพียงรอยละ 70 เทา นั้น

เทคนิคเบื้องต้นการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ ตอน 2

การเตรียมแปลงปลูก เนื่องจากเมล็ดพืชผักสวนใหญมีขนาดเล็ก มีระบบรากละเอียดออน ถาเกษตรกรเตรียมดินไมดี กอาจมีผลกระทบตอการงอกของเมล็ดและการเจริญเติบโตของพืชผักได ดังนั้น กอนการปลูกพืชควรมี การปรับสภาพดินใหเหมาะสมเสียกอน โดยเฉพาะในพื้นที่ที่เคยมีการปลูกผักหรือพืชชนิดอื่นโดยการ ปลอยนํ้ าใหทวมแปลงแลวสูบออก เพื่อใหนํ้ าชะลางสารเคมีและกํ าจัดแมลงตางๆ ที่อาศัยอยูในดิน แลว จึงทํ าการไถพลิกหนาดินตากแดดไว เพื่อทํ าลายเชื้อโรคและแมลงศัตรูที่อาศัยอยูในดินอีกครั้ง จากนั้น เกษตรกรควรจะปรับสภาพความเปนกรดเปนดางของดินใหอยูในสภาพที่เปนกลาง โดยใชปูนขาว ปูนมารล หรือ แรโดโลไมท อัตรา 200-300 กิโลกรัม/ไร แลวรดนํ้ าตามหลังจากการใสปูนขาวเพื่อ ปรับสภาพดินที่เปนกรดใหเปนกลางนอกจากนี้ควรเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินดวยการใสปุยอินทรีย เชน ปุยคอก ปุยหมัก ในอัตรา 1,000-2,000 กิโลกรัม/ไร ซึ่งจะชวยใหตนพืชผักมีความแข็งแรง สามารถตานทานตอการเขาทํ าลายของโรคและแมลงได